ระบบและสิ่งอำนวยความสะดวกหรือสนับสนุนการศึกษาหรือการเรียนรู้ของผู้เรียน

ประเภทสนับสนุนกระบวนการข้อมูลจำนวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการจำลองหอพัก และห้องสมุด
อาคารสถานที่การจัดการเรียนการสอนมีพื้นที่ปฏิบัติการทั้งสิ้น 4 แห่ง ประกอบด้วยเขตพื้นที่ในเมือง เขตพื้นที่ขามเรียง พื้นที่ปฏิบัติการสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช และพื้นที่ปฏิบัติการฟาร์มมหาวิทยาลัย โดยมีอาคารที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนทั้งสิ้น 46 อาคาร ประกอบด้วย 1. อาคารเรียนคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลังเดิม (อาคาร 1) 2. อาคารสำนักงานอธิการบดี หลังเดิม (อาคาร 2)  3. อาคารเรียนคณะวิทยาศาสตร์  หลังเดิม (อาคาร 3)  4. อาคารเรียนคณะวิทยาศาสตร์ หลังเดิม (อาคาร 4) 5. อาคารคณะศึกษาศาสตร์ 1 6. อาคารคณะศึกษาศาสตร์ 2 7. อาคารสำนักวิทยบริการ (หลังเดิม) 8. อาคารปฏิบัติการอาหารด้านหลังคณะเทคโนโลยี (เดิม) 9. ศูนย์บริการทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 10. อาคารเรียน (ปรับปรุงหลังเดิมของคณาสวัสดิ์)  (จำนวน 3 อาคาร) 11. อาคารปฏิบัติการ (ปรับปรุงหลังเดิมของคณาสวัสดิ์) 12. อาคารเรียนรวมและปฏิบัติการคณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม     13. อาคารโรงพยาบาลสัตว์เพื่อการเรียนการสอน  14. อาคารวิทยพัฒนา คณะศึกษาศาสตร์ 15. อาคารศูนย์บริการทางการแพทย์และศูนย์วิจัยเฉลิมพระเกียรติ 2 16. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม)      – อาคารสำนักงาน      – อาคารสีชมพู      – อาคารสีเขียว      – อาคารสีเหลือง      – อาคารปฐมวัย(คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม ) เดิม 17. อาคารราชนครินทร์ 18. อาคารเรียนคณะวิทยาศาสตร์ (SC1) 19. อาคารวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (SC2) 20. อาคารปฏิบัติการกลางทางวิทยาศาสตร์ (SC3) 21. อาคารเรียนรวมคณะศิลปกรรมศาสตร์ 22. อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ 23. อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีคณะวิศวกรรมศาสตร์ 24. อาคารเรียนคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ 25. อาคารเภสัชศาสตร์สิรินธร 26. อาคารเรียนคณะการบัญชีและการจัดการ 27. อาคารปฏิบัติการคณะการบัญชีและการจัดการ 28. อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและศูนย์บริการเครือข่าย (อาคาร D)       29. อาคารเรียนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ 30. อาคารปฏิบัติการเรียนรู้ด้วยตนเองและปฏิบัติการเครือข่าย (อาคาร C) 31. อาคารเรียนรู้และปฏิบัติการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร 32. อาคารเรียนและปฏิบัติการคณะวิทยาการสารสนเทศ 33. อาคารปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์และปลีคลินิก 34. อาคารศูนย์เรียนรู้พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น (อาคารปฏิบัติการคณะมนุษย์ ฯ) 35. อาคารกลุ่มวิจัยและปฏิบัติการ :อาคารเรียนหลักสูตร ความหลากหลายทางชีวภาพ 36. อาคารปฏิบัติการภาควิชาฟิสิกส์ 37. อาคารปฏิบัติการกลางทางวิทยาศาสตร์ 38. กลุ่มอาคารโรงเรียนสาธิต (มัธยมศึกษา)      – อาคารเรียน  1      – อาคารเรียน  2      – อาคารเรียน ตึกม่วง 
การวิจัยอาคารที่ใช้ในการปฏิบัติการและการวิจัยทั้งสิ้น 30 อาคาร ประกอบด้วย 1. อาคารเรียนและปฏิบัติการA,B ( จำนวน 2 อาคาร) 2. อาคารปฏิบัติการทางสัตวศาสตร์  โครงสร้าง คสล.     3. อาคารเรียนผ่าซากและ ห้องพยาธิวิทยา 4. อาคารปฏิบัติการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 5. อาคารสถานผลิตยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพร 6. อาคารเรียน ตึก 6 C 7. อาคารศูนย์ปฏิบัติการโครงการมหาวิทยาลัย 8. อาคารปฏิบัติการศิลปกรรมศาสตร์ 9. อาคารสถานีปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน (โรงผลิตยา) 10. อาคารปฏิบัติการวิศวกรรมศาสตร์ 11. อาคารฝึกปฏิบัติการทางวิศวกรรมศาสตร์ 12. อาคารศูนย์วิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม 13. อาคารผลิตและแปรรูปยาสมุนไพร 14. โรงเรือนเลี้ยงไหมวัย 1-3 15. โรงเรือนเลี้ยงไหมวัย 4-5 16. โรงเรือนเลี้ยงเพาะไข่ไหม 17. อาคารปฏิบัติการโรงเรียนสาธิต (มัธยมศึกษา) 18. โรงเรือนรีดนมและครุภัณฑ์ 19. โรงแปรรูปนม 20. โรงอาหารสัตว์ 21. โรงเรือนสัตว์ปีก 22. โรงเรือนโคนม 23. โรงฟักไข่ 24. โรงเรือนสุกร 25. กลุ่มอาคารเรียนรู้การเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร นาสีนวน      – อาคาร 1      – อาคาร 2      – อาคาร 3      – อาคาร 4 26 อาคารปฏิบัติการและโรงพยาบาลสัตว์
การบริการวิชาการอาคารที่ใช้ในการบริการวิชาการทั้งสิ้น 9 อาคาร ประกอบด้วย 1. อาคารศิลปะและวัฒนธรรม (หลังเดิม)  2. อาคารสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน   3. ศูนย์บริการแพทย์แผนไทย 4. อาคารสำนักวิทยบริการ B 5. อาคารสำนักวิทยบริการ A 6. อาคารศูนย์พัฒนาศักยภาพชุมชนลุ่มน้ำชี 7. อาคารสำนักงานเทคโนโลยีการเกษตรเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม    8. อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ 9. อาคารบริการชุมชน

ระบบและสิ่งอำนวยความสะดวกหรือสนับสนุนการศึกษาหรือการเรียนรู้ของผู้เรียน

สำหรับกรณี ผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ

มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ดำเนินการตามกฎกระทรวง เรื่อง กำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้สูงอายุ พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ออกแบบอาคารต่าง ๆ เพื่อรองรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย ประกอบกับมาตรา 55 และมาตรา 80 วรรคสองได้เรียกร้องให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้ผู้พิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะและการช่วยเหลืออื่น ๆ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงได้ดำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงและนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยมีสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคาร ดังนี้

ทางลาดสำหรับผู้พิการ

ห้องน้ำสำหรับผู้พิการ

ปุ่มลิฟต์สำหรับผู้พิการทางสายตา